Mind mapping
คำถามหลัก (Big Questions) : อาหารมีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างไร?
ภูมิหลังของปัญหา :
การเพิ่มจำนวนของประชากรโลกในปัจจุบันมีแนวโน้มสูงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ความต้องการบริโภคทรัพยากรก็เพิ่มมากขึ้นทุกด้าน ทําให้ความต้องการปัจจัยต่าง ๆ เพื่อการดํารงชีวิตเพิ่มตาม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอาหาร ที่อยู่อาศัย พลังงาน ฯลฯ และในปัจจุบันหลายพื้นทั่วโลกต้องประสบกับภาวะการขาดแคลนอาหาร อาหารไม่ปลอดภัยมีสารปนเปื้อน ดังนั้นการรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีความพอเหมาะต่อความต้องการของร่างกายจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความปลอดภัยและหลีกเลี่ยงอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อนให้ได้มากที่สุด
เป้าหมายของความเข้าใจ (Understanding Goal):
มีความรู้ความเข้าใจต่ออาหาร สามารถผลิตอาหารที่ปลอดภัยและกิน อยู่ อย่างมีคุณภาพ รวมทั้งสามารถออกแบบการกินของอาหารในรูปแบบของตนเอง (นวัตกรรมและการนำไปใช้ )ได้
สิ่งที่รู้แล้ว - สิ่งที่อยากเรียนรู้
ปฏิทินแผนจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ (PBL) หน่วย : Natural Kitchen – ครัวธรรมชาติ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 Quarter 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
กิจกรรมคู่ขนาน
|
1
|
โจทย์
- สร้างแรงบันดาลใจ
- วางแผนออกแบบการเรียนรู้
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าปัจจัยหลักที่มีผลต่อการสร้างอาหารที่ปลอดภัยและเพียงพอ
คืออะไร และส่งผลอย่างไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องที่ได้ดู
-
นักเรียนต้องการเรียนรู้เรื่องอะไร
- นักเรียนคิดว่าหัวข้อหน่วย
ที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
Round Rubin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูคลิปVDO
Round table
เขียนความคิดเห็นเกี่ยวกับ การดูคลิปVDO
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูคลิปVDO
place mat
นักเรียนสร้างชิ้นงานจากสิ่งที่ได้ดูกบนอกกะลา “ ตอน ไขปริศนาปลากระป๋อง”
Card & Chart
เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Think Pair Share
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
Blackboard Share
การตั้งชื่อ หน่วย
Brainstorms
ระดมความคิดเห็นเพื่อออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
Mind Mapping
สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- สารคดี “ถ้าอาหารหมดโลก”
- บรรยากาศในห้องเรียน
- คลิปวีดีโอ กบนอกกะลา “ ตอน ไขปริศนาปลากระป๋อง” - ห้องเรียน
- กระดาษสี ขนาดครึ่ง A4
- กระดาษชาร์ต
|
- ครูให้นักเรียนดูสารคดี “ถ้าอาหารหมดโลก” ซึ่งเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมต่างๆที่มีผลต่อปริมาณอาหารของโลก
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร และนำสิ่งไหนไปปรับใช้ได้เกี่ยวกับเรื่องที่ได้ดู?”
- แบ่งกลุ่มนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูสารคดี “ถ้าอาหารหมดโลก” และนำเสนอในรูปแบบ place mat
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายกิจกรรมที่ได้เรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าปัจจัยหลักที่มีผลต่อการสร้างอาหารที่ปลอดภัยและเพียงพอ
คืออะไร และส่งผลอย่างไร?”
-
นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถาม
- ครูเปิดคลิปวีดีโอ กบนอกกะลา “ ตอน ไขปริศนาปลากระป๋อง” ซึ่งเล่าถึงที่มาของปลากระป๋องตั้งแต่ต้นกำเนิดจนกระทั่งถูกบรรจุอยู่ในกระป๋องและมีจำหน่ายทั่วไป
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “เมื่อพูดถึงอาหาร
นักเรียนเห็นอะไร? รู้สึกอย่างไร? และเกี่ยวข้องกับตนเองอย่างไร?”
- นักเรียนแต่ละคนเขียนแสดงความคิดเห็นจากคำถามข้างตน
-
นักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนและนำเสนอสิ่งที่ตนเองเขียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนต้องการเรียนรู้เรื่องอะไร?”
- ครูแจกกระดาษการ์ดให้นักเรียนแต่ละคน
โดยให้นักเรียนเขียนเรื่องที่อยากเรียนรู้ โดย 1 เรื่อง
ต่อการ์ด 1 แผ่น (Card & Chart)
-
ครูและนักเรียนร่วมกันจัดหมวดหมู่เรื่องที่ต้องการศึกษา
- นักเรียนเลือกหัวข้อหน่วยการเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าหัวข้อหน่วยที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร?”
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
และ ร่วมกันตั้งชื่อหัวข้อหน่วย โดยใช้วิธีการ Blackboard Share
-
นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้วกับสิ่งที่อยากรู้
( Think Pair Share )
- นักเรียนร่วมกันนำสิ่งที่อยากเรียนรู้มาออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ลงในกระดาษชาร์ต
และเขียนสรุปองค์ความรู้ ก่อนการเรียนรู้ในรูปแบบ Mind
Mapping
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายกิจกรรมที่ได้เรียนรู้
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูสารคดี “ถ้าอาหารหมดโลก”
-
แบ่งกลุ่มเพื่อทำงานเกี่ยวกับสิ่งที่แต่ละคนได้เรียนรู้
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิงที่ได้เรียนรู้
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับคลิปวีดีโอ
กบนอกกะลา “
ตอน ไขปริศนาปลากระป๋อง”
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเลือกหัวข้อโครงงานและออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
ชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ได้จากการดูสารคดีผ่าน
place mat
-
บทความวิเคราะห์จากสิ่งที่ได้เรียนรู้จากอาหาร
- หัวข้อโครงงาน
- สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหัวข้อหน่วย
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและเห็นผลกระทบจากสิ่งต่างๆต่อการผลิตอาหารที่ปลอดภัยและเพียงพอต่อความต้องการของมนุษย์
และเข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้
พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือในการการคิดวิเคราะห์ข้อมูล
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- เข้าใจและมีเป้าหมายในการเรียนรู้สิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม
ทักษะการเรียนรู้
เรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทำงานร่วมกับเพื่อนๆ
ปรึกษาเลือกหัวข้อโครงงาน และช่วยเหลือซึงกันและกันในขณะที่ทำงาน
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่มศึกษาเกี่ยวกับการเสนอชื่อหัวข้อหน่วย
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ปฏิทินการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าวสินเหล็ก 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
และการรับประทานอาหาร
|
2
|
โจทย์
- วางแผนการกิน
- ประเภทของสารอาหาร
Key Questions
- นักเรียนจะออกแบบตารางการบริโภคและพัฒนาสมรรถภาพด้านต่างๆของตนเองได้อย่างไร
-
นักเรียนคิดว่าอาหารมื้อเช้าที่นักเรียนทานบ่อยที่สุด เป็นเมนูใด
-
ในเมนูอาหารที่นักเรียนเลือกมีสารอาหารอะไรเป็นองค์ประกอบ
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทของอาหาร
Round Rubin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทของอาหาร
Blackboard Share
การเขียนรวบรวมความคิดเห็นให้ทุกคนเห็นภาพรวมของประเภทอาหาร
Place mat
ประเภทของอาหารและการตรวจสอบสารอาหาร
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิปวีดีโอสั้น เรื่อง “เด็กกว่า 1 ล้านคนในแอฟริกาขาดอาหาร
- ตาราง “คุณประโยชน์ของอาหารตามโทนสี”
-
- คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- เมนูอาหารมื้อเช้า
|
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าอาหารมื้อเช้าที่นักเรียนทานบ่อยที่สุด เป็นเมนูใด?”
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเมนูอาหารมื้อเช้า
-
นักเรียนแต่ละคนเลือกเมนูอาหารที่ตนเองทานบ่อยที่สุดคนละ 1 เมนู พร้อมบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ในเมนูอาหารที่นักเรียนเลือกมีสารอาหารอะไรเป็นองค์ประกอบ?”
- นักเรียนแต่ละค้นสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหาร
-
แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มกลุ่มละเท่าๆ กัน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาร่วมวิเคราะห์
และสรุปเพื่อนำเสนอข้อมูลตามรูปแบบต่างๆ อาทิเช่น Mind Mapping, ชาร์ตความรู้,
การ์ตูนช่อง ฯลฯ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอข้อมูลให้เพื่อนและคุณครูร่วมตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็น
-: ครูเปิดคลิปวีดีโอสั้น
เรื่อง “เด็กกว่า 1 ล้านคนในแอฟริกาขาดอาหาร”ซึ่งเกี่ยวกับสภาพของภาวะโภชนาการที่ขาดแคลน
เมื่อเปรียบเทียบกับอีกมุมหนึ่งของโลกที่ไม่ได้ให้ความสำคัญกับเรื่องอาหาร
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
- ครูให้นักเรียนดูตาราง “คุณประโยชน์ของอาหารตามโทนสี” ดังรูป
-
นักเรียนร่วมกันพูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
-
นักเรียนแต่ละคนศึกษาและวิเคราะห์พลังงานจากอาหารที่ร่างกายต้องการ(BMI)ในแต่ละวัน
- สรุปข้อมูลและวางแผนการรับประทานอาหารและการดำเนินชีวิตให้ถูกสุขลักษณะ
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะออกแบบตารางการบริโภคและพัฒนาสมรรถภาพด้านต่างๆของตนเองได้อย่างไร?”
-
นักเรียนแต่ละคนเริ่มลงมือปฏิบัติ พร้อมบันทึกผลลงในตาราง
- ร่วมพูดคุยถึงผลที่เกิดขึ้นเป็นระยะ
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับคลิปวีดีโอสั้น เรื่อง “เด็กกว่า 1
ล้านคนในแอฟริกาขาดอาหาร
- ออกแบบตารางการบริโภคและพัฒนาสมรรถภาพด้านต่างๆของตนเอง
-
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหาร
-
- นำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหาร
-
ชิ้นงาน
- สร้างชิ้นงานตามความถนัดของผู้เรียน
เช่น Mind Mapping,
ชาร์ตความรู้, การ์ตูนช่อง เกี่ยวกับสารอาหารประเภทต่างๆ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจการวางแผนการรับประทานอาหารและสามารถอธิบายประเภทของสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
การทำงานกลุ่มการให้ความมือในการทำงานร่วมกันวางแผนเกี่ยวกับสารอาหารและการตรวจสอบสารอาหาร
ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
ทักษะICT
สืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารและการตรวจสอบสารอาหาร
ทักษะการสื่อสาร
นำเสนอชิ้นงานเกี่ยวกับสารอาหารและการตรวจสอบสารอาหาร
ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องเกี่ยวกับการแยกประเภทขอสารอาหารที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถวิเคราะห์และจำแนกประเภทของสารอาหารที่มีอยู่ในอาหารแต่ละประเภทได้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอข้อมูลที่สืบค้นในรูปแบบชิ้นงานที่หลากหลาย
อาทิเช่น Mind Mapping, ชาร์ตความรู้, การ์ตูนช่อง ฯลฯ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าวสินเหล็ก 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
และการรับประทานอาหาร
|
3
|
โจทย์
วิธีการตรวจสอบสารอาหาร
Key Questions
- นักเรียนคิดว่ากะหล่ำสีม่วง และน้ำส้มสายชู มีผลต่อเส้นบะหมี่อย่างไร
- นักเรียนคิดว่าเราสามารถตรวจสอบสารอาหาร
ที่มีอยู่ในอาหารได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการตรวจสอบสารอาหาร
Mind Mapping
การตรวจสอบสารอาหาร
Round Rubin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการตรวจสอบสารอาหาร
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิปวีดีโอ Sponge - ความลับของผลไม้ 12Apr12
- บะหมี่ กะหล่ำปลี และ น้ำส้มสายชู
-
- คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ใช้ตรวจสอบสารอาหารแต่ละประเภท
|
- ครูเปิดคลิปวีดีโอ Sponge” ความลับของผลไม้ 12Apr12” ให้นักเรียนดู ซึ่งเกี่ยวกับสารเคมีที่มากับผลไม้ที่ดูภายนอกสวยสดน่ารับประทานและมีอายุนานหลายวัน
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่ากะหล่ำสีม่วง และน้ำส้มสายชู
มีผลต่อเส้นบะหมี่อย่างไร?”
- ครูและนักเรียนร่วมทดลอง เพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเส้นบะหมี่ และบันทึกลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
-
ครูและนักเรียนวิเคราะห์และสรุปผลร่วมกันเกี่ยวกับผลการทดลอง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าเราสามารถตรวจสอบสารอาหาร ที่มีอยู่ในอาหารได้อย่างไร?”
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีตรวจสอบสารอาหาร
-
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบสารอาหาร(สารอาหาร 5 หมู่)
-
-
นักเรียนแต่ละคนนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบสารอาหาร
-
- ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้
เกี่ยวกับสารอาหารและการตรวจสอบสารอาหารประเภทต่างๆ
-
นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
-
ทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลองเกี่ยวกับเส้นบะหมี่
-
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบสารอาหาร
-
- นำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหารและวิธีการตรวจสอบสารอาหาร
-
-
ร่วมกันตรวจสอบอาหารแต่ละประเภทที่เตรียมมาทดสอบ
ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก บันทึกผลการทดลอง
- สร้างชิ้นงานตามความถนัดของผู้เรียน
เช่น Mind Mapping,
ชาร์ตความรู้, การ์ตูนช่อง เกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบสารอาหารต่างๆ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายวิธีการตรวจสอบสารอาหารได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
การทำงานกลุ่มการให้ความร่วมมือในการวางแผนการทำงานเกี่ยวกับการตรวจสอบสารอาหาร
ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
ทักษะICT
สืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจสอบสารอาหาร
ทักษะการสื่อสาร
นำเสนอชิ้นงานเกี่ยวกับการตรวจสอบสารอาหาร
ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องเกี่ยวกับการแยกประเภทขอสารอาหารที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถวิเคราะห์และจำแนกประเภทของสารอาหารที่มีอยู่ในอาหารแต่ละประเภทได้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และมุ่งมั่นในการทำงาน
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าวสินเหล็ก 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
และการรับประทานอาหาร
|
4
|
โจทย์
สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต
Key Questions
- นักเรียนรู้สึกอย่างไร ในขณะที่อมข้าวไว้ในปาก
- นักเรียนมีวิธีการตรวจสอบแป้ง (คาร์โบไฮเดรต)
ในอาหารได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง
(คาร์โบไฮเดรต)ที่อยู่ในใบพืชและอาหารประเภทต่างๆ
Round Rubin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการตรวจสอบสารอาหาร
Brainstorm
ระดมความคิดเกี่ยวกับกระบวนการทดลองสารอาหารประเภทแป้ง
(คาร์โบไฮเดรต)ที่อยู่ในใบพืชและอาหารประเภทต่างๆ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
อุปกรณ์ตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)ที่อยู่ในใบพืชและอาหารประเภทต่างๆ
- ภาพ “แป้งจากข้าว”
- ใบพืชสำหรับการตรวจสอบ อาทิเช่น ใบถั่ว,
ใบกล้วย, ใบอัญชัน, ใบข้าว ฯลฯ โดยอยู่ในสภาพ(กลางแจ้ง, ที่มืด)
|
- ครูและนักเรียนได้ร่วมทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่แล้ว
ซึ่งเกี่ยวกับสารอาหารและวิธีการตรวจสอบสารอาหารประเภทต่างๆ
- ครูนำภาพ “แป้งจากข้าว”
และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กต่างๆ ที่ถ่ายได้จากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนมาให้นักเรียนร่วมสังเกต
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“จากสิ่งที่ได้ดูนักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง?”
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนรู้สึกอย่างไร ในขณะที่อมข้าวไว้ในปาก?”
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “จากการสืบค้นข้อมูล
นักเรียนมีวิธีการตรวจสอบแป้ง (คาร์โบไฮเดรต) ในอาหารได้อย่างไร?”
Flip classroom
-
นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
อาทิเช่น ใบพืชประเภทต่างๆ โดยอยู่ในสภาพ(กลางแจ้ง, ที่มืด)
-
ทดลองตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต) ในใบพืช
-
ร่วมสังเกตและบันทึกผลการทดลองลงในสมุดเล่มเล็ก
พร้อมเปรียบเทียบความแตกต่างของใบพืชแต่ละประเภท
ร่วมถึงสถานที่อยู่ของใบพืชนั่นๆ
- ร่วมนำเสนออภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทดลอง
-
สรุปสิ่งที่ได้ตรวจสอบสิ่งที่ได้เรียนรู้แป้ง(คาร์โบไฮเดรต) ในรูปแบบการ์ตูนช่อง
ชิ้นงาน
- สร้างชิ้นงานตามความถนัดของผู้เรียน
เช่น Mind Mapping,
ชาร์ตความรู้, การ์ตูนช่อง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
กระบวนการตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง
(คาร์โบไฮเดรต) ในใบพืช และอาหารประเภทต่างๆ
ทักษะ
ทักษะชีวิต
การทำงานกลุ่มการช่วยเหลืองานกันและกันเกี่ยวกับวิธีการทดลองเพื่อตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)
ในใบพืช
ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
เพื่อวิเคราะห์สารอาหารในใบพืช
ทักษะICT
สืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการทดลองเพื่อตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)
ในใบพืช
ทักษะการสื่อสาร
นำเสนอชิ้นงานเกี่ยวกับวิธีการทดลองเพื่อตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)
ในใบพืช
ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องเกี่ยวกับการแยกประเภทของสารอาหารที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้โดยวิธีการทดลอง
- สามารถวิเคราะห์ผลการทดลองเกี่ยวกับสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)
ในใบพืชได้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากกระบวนการทดลอง
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าวสินเหล็ก 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
และการรับประทานอาหาร
|
5
|
โจทย์
สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต
Key Question
นักเรียนมีวิธีการตรวจสอบแป้ง (คาร์โบไฮเดรต)
ในอาหารได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)ที่อยู่ในใบพืชและอาหารประเภทต่างๆ
Round Rubin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต
Brainstorm
ระดมความคิดเกี่ยวกับกระบวนการทดลองสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)ที่อยู่ในใบพืชและอาหารประเภทต่างๆ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
อุปกรณ์ตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)ที่อยู่ในใบพืชและอาหารประเภทต่างๆ
- ใบพืชสำหรับการตรวจสอบ อาทิเช่น ใบถั่ว,
ใบกล้วย, ใบอัญชัน, ใบข้าว ฯลฯ โดยอยู่ในสภาพ(กลางแจ้ง, ที่มืด)
|
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
- แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม
กลุ่มละเท่าๆ กัน เพื่อร่วมกันทดลอง “ตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)
ในใบพืช”
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มจัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง อาทิเช่น ใบพืชประเภทต่างๆ
โดยอยู่ในสภาพ(กลางแจ้ง, ที่มืด)
- ครูและนักเรียนร่วมทดลองตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)
ในใบพืช
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมสังเกตและบันทึกผลการทดลองลงในสมุดเล่มเล็ก
พร้อมเปรียบเทียบความแตกต่างของใบพืชแต่ละประเภท
ร่วมถึงสถานที่อยู่ของใบพืชนั่นๆ
- ครูและนักเรียนร่วมนำเสนออภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทดลอง
- นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้ตรวจสอบสิ่งที่ได้เรียนรู้แป้ง(คาร์โบไฮเดรต)
ในรูปแบบการ์ตูนช่อง
-
นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง อาทิเช่น ใบพืชประเภทต่างๆ
โดยอยู่ในสภาพ(กลางแจ้ง, ที่มืด)
- ทดลองตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)
ในใบพืช
-
ร่วมสังเกตและบันทึกผลการทดลองลงในสมุดเล่มเล็ก
พร้อมเปรียบเทียบความแตกต่างของใบพืชแต่ละประเภท
ร่วมถึงสถานที่อยู่ของใบพืชนั่นๆ
-
ร่วมนำเสนออภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทดลอง
-
สรุปสิ่งที่ได้ตรวจสอบสิ่งที่ได้เรียนรู้แป้ง(คาร์โบไฮเดรต) ในรูปแบบการ์ตูนช่อง
ชิ้นงาน
- การ์ตูนช่องเกี่ยวกับชุดความรู้แป้ง(คาร์โบไฮเดรต)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
กระบวนการตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง
(คาร์โบไฮเดรต) ในใบพืช และอาหารประเภทต่างๆ
ทักษะ
ทักษะชีวิต
การทำงานกลุ่มการช่วยเหลือกันเกี่ยวกับวิธีการทดลองเพื่อตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)
ในใบพืช
ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
เพื่อวิเคราะห์สารอาหารในใบพืช
ทักษะICT
สืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการทดลองเพื่อตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)
ในใบพืช
ทักษะการสื่อสาร
นำเสนอชิ้นงานเกี่ยวกับวิธีการทดลองเพื่อตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)
ในใบพืช
ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องเกี่ยวกับการแยกประเภทของสารอาหารที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้โดยวิธีการทดลอง
- สามารถวิเคราะห์ผลการทดลองเกี่ยวกับสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)
ในใบพืชได้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากกระบวนการทดลองในรูปแบบการ์ตูนช่อง
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าวสินเหล็ก 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
และการรับประทานอาหาร
|
6
|
โจทย์
- สารอาหารประเภทโปรตีน
- การถนอมอาหารประเภทเนื้อสัตว์
ระยะเวลา 1 เดือน
Key Questions
- ในระยะเวลา 1 เดือน
นักเรียนจะมีวิธีการถนอมอาหารประเภทเนื้อได้อย่างไร
-
นักเรียนคิดว่าสารอาหารประเภทโปรตีนมีอยู่ในอาหารประเภทใด
เครื่องมือคิด
Show and Share
-
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการตรวจสอบสารอาหารประเภทโปรตีน และวิธีการถนอมอาหารประเภทเนื้อในรูปแบบที่หลากหลาย
-
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างโครงสร้างร่างกายมนุษย์กับโครงสร้างของปลา
Round Rubin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างร่างกาย
Round table
เขียนออกแบบโครงสร้างร่างกายมนุษย์และโครงสร้างปลา
Brainstorm
ระดมความคิดเกี่ยวกับกระบวนการทดสอบสารอาหารประเภทโปรตีน
และวิธีการถนอมอาหารประเภทเนื้อในรูปแบบที่หลากหลาย
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เนื้อสัตว์ประเภทต่างๆ อาทิเช่น
เนื้อหมู, เนื้อปลา, เนื้อไก่ ฯลฯ
- คอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ต
- อุปกรณ์ผ่าตัดปลา
- กล้องจุลทรรศน์
- อุปกรณ์สำหรับตรวจสอบโปรตีน
|
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ในระยะเวลา 1 เดือน
นักเรียนจะมีวิธีการถนอมอาหารประเภทเนื้อได้อย่างไร?”
- นักเรียนแต่ละคนแสดงความคิดเห็นและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการเก็บรักษาเนื้อสัตว์ประเภทต่างๆ
อาทิเช่น เนื้อหมู, เนื้อปลา, เนื้อไก่ ฯลฯ
-
นักเรียนแต่ละคนนำเสนอวิธีการถนอมเนื้อสัตว์ของตนเองที่ได้จากการสืบค้นข้อมูล
อาทิเช่น แหนมหมู, เนื้อแดดเดียว, หมักเกลือ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“อาหารที่นักเรียนชอบทานคืออะไร?”
- นักเรียนบอกชื่อรายการอาหารที่ตนเองชอบ
และร่วมกันจัดหมวดหมู่ประเภทของสารอาหารที่ตนเองจะได้รับ
- นักเรียนแต่ละคนเตรียมเนื้อที่ตนเองต้องการศึกษาคนละครึ่งกิโลกรัม
เพื่อใช้สำหรับทดลองวิธีถนอมอาหารที่ตนเองได้ศึกษา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าเราจะเรียนรู้เรื่องโครงสร้างของร่างกายและระบบต่างๆ
ในร่างกายของเราได้อย่างไร?”
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
- แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาระบบโครงสร้างของปลา
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่จัดเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำกิจกรรมผ่าตัดปลา (ถุงมือ
มีดโกน ปลาชนิดต่างๆ ปลานิล ปลาดุก ปลาช่อน)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมผ่าตัดปลา
แบ่งบทบาทหน้าที่ในการทำงาน คนที่ผ่าตัดปลา คนที่บันทึกผล ฯลฯ
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้โครงสร้างปลา ผ่านการเขียนแผนภาพ
- เปรียบเทียบโครงสร้างปลากับโครงสร้างร่างกายของคนเรา
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรมผ่าตัดปลาและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
-
นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- สืบค้นข้อมูลและนำเสนอวิธีการถนอมเกี่ยวกับวิธีการเก็บรักษาเนื้อสัตว์ประเภทต่างๆ
อาทิเช่น เนื้อหมู, เนื้อปลา, เนื้อไก่ ฯลฯ
-
เตรียมเนื้อที่ตนเองต้องการศึกษาคนละครึ่งกิโลกรัม
เพื่อใช้สำหรับทดลองวิธีถนอมอาหารที่ตนเองได้ศึกษา
-
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับระบบการทำงาน
ส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์และโครงสร้างการทำงานของปลา
ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
-
สรุปสิ่งที่เรียนรู้จากการตรวจสอบโปรตีนในเนื้อปลาและกระบวนการถนอมอาหาร
ในรูปแบบที่ตนเองสนใจ อาทิเช่น ชาร์ต, Mind Mapping, การ์ตูนช่อง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการตรวจสอบสารอาหารประเภทโปรตีน
พร้อมทั้งวิธีการถนอมอาหารประเภทเนื้อในรูปแบบที่หลากหลายได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงระบบโครงสร้างร่างกายของมนุษย์กับระบบการทำงานของปลาได้
-สามารถวิเคราะห์ผลการทดลองเกี่ยวกับสารอาหารประเภทโปรตีนที่อยู่ในเนื้อปลาได้
ทักษะICT
สืบค้นข้อมูลและการเปรียบเทียบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์กับปลา
ร่วมถึงกระบวนการตรวจสอบโปรตีนจากเนื้อปลา
ทักษะการสื่อสาร
นำเสนอชิ้นงานเกี่ยวกับการแยกประเภทของสารอาหารที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องเกี่ยวกับการแยกประเภทของสารอาหารที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- การวางแผนในการทำงานกลุ่มเกี่ยวกับวิธีการสืบค้นข้อมูลและการเปรียบเทียบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์กับปลา
ร่วมถึงกระบวนการตรวจสอบโปรตีนจากเนื้อปลา
ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
เพื่อวิเคราะห์สารอาหารประเภทโปรตีนและระบบโครงสร้างร่างกายของมนุษย์กับปลา
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากกระบวนการทดลองในรูปแบบที่ตนเองสนใจ
อาทิเช่น ชาร์ต, Mind Mapping, การ์ตูนช่อง
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าวสินเหล็ก 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
และการรับประทานอาหาร
|
7 |
โจทย์
- โครงสร้างการทำงานของร่างกาย
- ผ่าตัดปลา
Key Questions
- ในระยะเวลา 1 เดือน
นักเรียนจะมีวิธีการถนอมอาหารประเภทเนื้อได้อย่างไร
- นักเรียนคิดว่าสารอาหารประเภทโปรตีนมีอยู่ในอาหารประเภทใด
-
นักเรียนคิดว่าโครงสร้างร่างกายของมนุษย์เหมือนหรือแตกต่างจากโครงสร้างของปลาอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
-
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการตรวจสอบสารอาหารประเภทโปรตีน และวิธีการถนอมอาหารประเภทเนื้อในรูปแบบที่หลากหลาย
-
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างโครงสร้างร่างกายมนุษย์กับโครงสร้างของปลา
Brainstorm
ระดมความคิดเกี่ยวกับกระบวนการทดสอบสารอาหารประเภทโปรตีน
และวิธีการถนอมอาหารประเภทเนื้อในรูปแบบที่หลากหลาย
Round Rubin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างร่างกาย
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เนื้อสัตว์ประเภทต่างๆ อาทิเช่น
เนื้อหมู, เนื้อปลา, เนื้อไก่ ฯลฯ
- คอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ต
- อุปกรณ์ผ่าตัดปลา
- กล้องจุลทรรศน์
- อุปกรณ์สำหรับตรวจสอบโปรตีน
|
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าเราจะเรียนรู้เรื่องโครงสร้างของร่างกายและระบบต่างๆ
ในร่างกายของเราได้อย่างไร?”
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
- แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาระบบโครงสร้างของปลา
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่จัดเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำกิจกรรมผ่าตัดปลา (ถุงมือ
มีดโกน ปลาชนิดต่างๆ ปลานิล ปลาดุก ปลาช่อน)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมผ่าตัดปลา
แบ่งบทบาทหน้าที่ในการทำงาน คนที่ผ่าตัดปลา คนที่บันทึกผล ฯลฯ
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้โครงสร้างปลา ผ่านการเขียนแผนภาพ
-
เปรียบเทียบโครงสร้างปลากับโครงสร้างร่างกายของคนเรา
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรมผ่าตัดปลาและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
-
นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับระบบการทำงาน
ส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์และโครงสร้างการทำงานของปลา
เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับศึกษาในกิจกรรมผ่าตัดปลา
- เตรียมอุปกรณ์สำหรับร่วมกิจกรรม “ผ่าตัดปลา”
- ผ่าตัดปลา
ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
-
สรุปสิ่งที่เรียนรู้จากกิจกรรมผ่าตัดปลาและผลการตรวจสอบโปรตีนในเนื้อปลา
ในรูปแบบที่ตนเองสนใจ อาทิเช่น ชาร์ต, Mind Mapping, การ์ตูนช่อง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายโครงสร้างการทำงานของร่างกายมนุษย์เปรียบเทียบกับโครงสร้างการทำงานของร่างกายปลาได้
ทักษะ
ทักษะICT
สืบค้นข้อมูลและการเปรียบเทียบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์กับปลา
ร่วมถึงกระบวนการตรวจสอบโปรตีนจากเนื้อปลา
ทักษะการสื่อสาร
นำเสนอชิ้นงานเกี่ยวกับการแยกประเภทขอสารอาหารที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการเรียนรู้
- การวางแผนในการทำงานกลุ่มเกี่ยวกับวิธีการสืบค้นข้อมูลและการเปรียบเทียบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์กับปลา
ร่วมถึงกระบวนการตรวจสอบโปรตีนจากเนื้อปลา
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องเกี่ยวกับการแยกประเภทขอสารอาหารที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
เพื่อวิเคราะห์สารอาหารประเภทโปรตีนและระบบโครงสร้างร่างกายของมนุษย์กับปลา
ทักษะชีวิต
-สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงระบบโครงสร้างร่างกายของมนุษย์กับระบบการทำงานของปลาได้
-สามารถวิเคราะห์ผลการทดลองเกี่ยวกับสารอาหารประเภทโปรตีนที่อยู่ในเนื้อปลาได้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากกระบวนการทดลองในรูปแบบที่ตนเองสนใจ
อาทิเช่น ชาร์ต, Mind Mapping, การ์ตูนช่อง
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าวสินเหล็ก 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
และการรับประทานอาหาร
|
8
|
โจทย์
เมนูอาหารจากเนื้อสัตว์
ที่ผ่านการถนอมในระยะเวลา 1
เดือน
Key Question
นักเรียนคิดว่าจะสามารถนำเนื้อสัตว์ของตนเองและเพื่อนในกลุ่มไปประกอบเป็นอาหารเมนูใดได้บ้าง
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับเมนูอาหารจากเนื้อสัตว์ซึ่งผ่านกระบวนการถนอมอาหาร
ที่หลากหลาย
Round Rubin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเมนูอาหารที่เตรียมจะนำมาร่วมกันทำอาหาร
Round table
เขียนกระบวนการประกอบอาหารตามแต่ละเมนูที่นำเสนอ
Brainstorm
-
ระดมความคิดเกี่ยวกับเมนูอาหารจากเนื้อสัตว์ซึ่งผ่านกระบวนการถนอมอาหาร
ที่หลากหลาย
- ระดมความคิดเกี่ยวกับกระบวนการถ่ายทำรายการอาหาร
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
เนื้อสัตว์ที่ผ่านการถนอมในกระบวนการต่างๆ ในระยะเวลา 1 เดือน
- อุปกรณ์การทำอาหาร
- กล้องถ่ายทำรายการ
- คอมพิวเตอร์ / โปรแกรมตัดต่อVegas
|
- นักเรียนแต่ละคนนำเนื้อของตนเองมาให้เพื่อนร่วมสังเกต
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนสังเกตเห็นอะไรจากเนื้อที่นำมา(ทั้งของตนเองและเพื่อน)?”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนแต่ละคนมีวิธีการหมักเนื้อของตนเองอย่างไร?”
- นักเรียนแต่ละคนนำเสนอ
ขั้นตอนกระบวนการถนอมเนื้อสัตว์ของตนเองให้เพื่อนและคุณครูร่วมรับฟัง
- แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าจะสามารถนำเนื้อสัตว์ของตนเองและเพื่อนในกลุ่มไปประกอบเป็นอาหารเมนูใดได้บ้าง?”
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเมนูอาหารของตนเอง
พร้อมวิธีการนำเสนอเมนูอาหารในรูปแบบรายการ
-
นักเรียนแต่ละร่วมพูดคุยวางแผนการทำงาน พร้อมแบ่งหน้าที่ให้เพื่อนๆ ในกลุ่ม
สำหรับกิจกรรมถ่ายทำอาหาร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมอุปกรณ์ในการปรุงอาหาร
ตามเมนูที่แต่ละกลุ่มสนใจ
พร้อมทั้งถ่ายทำรายการอาหารควบคู่ไปด้วย
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนออาหารที่ปรุง
เสร็จเรียบร้อยแล้ว
พร้อมทั้งให้เพื่อนและคุณครูได้ร่วมชิม แล้วเสนอความคิดเห็น
-
นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำอาหารลงในสมุดเล่มเล็ก
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
เกี่ยวกับวิธีการถนอมอาหารและการประกอบการอาหารประเภทต่างๆ
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลที่ได้จากการถ่ายทำรายการอาหาร
ไปดำเนินการตัดต่อ เพื่อนำเสนอในครั้งต่อไป
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- นำเสนอ
ขั้นตอนกระบวนการถนอมเนื้อสัตว์ของตนเอง
- นำเสนอเมนูอาหารของตนเอง
พร้อมวิธีการนำเสนอเมนูอาหารในรูปแบบรายการ
- ร่วมพูดคุยวางแผนการทำงาน
พร้อมแบ่งหน้าที่ให้เพื่อนๆ ในกลุ่ม สำหรับกิจกรรมถ่ายทำอาหาร
- เตรียมอุปกรณ์ในการปรุงอาหาร
ตามเมนูที่แต่ละกลุ่มสนใจ พร้อมทั้งถ่ายทำรายการอาหาร
-
อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
เกี่ยวกับวิธีการถนอมอาหารและการประกอบการอาหารประเภทต่างๆ
-
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำอาหารลงในสมุดเล่มเล็ก
ชิ้นงาน
- สมุดเล่มเล็ก
- คลิปตัดต่อรายการ
- เมนูอาหาร และStory Board รายการ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายวิธีการถนอมอาหารประเภทเนื้อสัตว์ตลอดระยะเวลา
1 เดือนได้อย่างมีคุณภาพ
พร้อมทั้งสามารถนำมาประกอบเป็นอาหารเมนูต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย
ทักษะ
ทักษะICT
สืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการถนอมอาหารในแบบต่างๆ
ทักษะการสื่อสาร
นำเสนอชิ้นงานเกี่ยวกับกระบวนการถนอมอาหารแต่ละแบบ
ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการออกแบบเมนูอาหารจากเนื้อสัตว์ที่ผ่านกระบวนการถนอมอาหารที่แตกต่างของคนในกลุ่ม
ทักษะการเรียนรู้
-สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงความเข้าใจด้านการถนอมอาหารประเภทเนื้อสัตว์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการทำงานกลุ่มเกี่ยวกับเมนูอาหารจากเนื้อสัตว์ซึ่งผ่านกระบวนการถนอมอาหาร
ที่หลากหลายและการถ่ายทำรายการอาหาร
- สามารถวิเคราะห์ความแตกต่างของกรรมวิธีถนอมอาหารประเภทเนื้อสัตว์ได้อย่างหลากหลาย
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอเมนูอาหารผ่านกระบวนการถ่ายทำรายการได้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าวสินเหล็ก 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
และการรับประทานอาหาร
|
9
|
โจทย์
การตรวจสอบไขมัน
และการลดน้ำหนักในระยะเวลา 1
เดือน
Key Questions
- จากการทดลองหยดน้ำมันลงในแผ่นกระดาษ
นักเรียนสังเกตเห็นการเปลี่ยนอย่างไร
- นักเรียนจะมีวิธีการควบคุมอาหารประเภทไขมัน
และแบ่งเวลาออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนักของตัวเอง ในระยะเวลา 1 เดือน ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
-
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างกายของคนเราในอดีตกับอนาคต
- นำเสนอเกี่ยวกับขั้นตอนการควบปริมาณอาหารประเภทไขมันละการออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนักในเวลา
1 เดือน
Round Rubin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสารอาหารประเภทไขมัน
Place mat
-
เขียนถึงสาเหตุหรือปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดโรคอ้วนขึ้นอย่างไร / สาเหตุใดบ้าง
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
- คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- ภาพไทม์ไลน์ของคนจากอดีตมาสู่อนาคต
โรคอ้วน
- กระดาษสีขาวบาง
- น้ำมันพืช
- อุปกรณ์ทดลอง
|
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับสารอาหารที่เรียนผ่านมาแล้วสารอาหารประเภทโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต
- ครูนำภาพเกี่ยวกับภาพไทม์ไลน์ของคนจากอดีตมาสู่อนาคต
โรคอ้วนมาให้นักเรียนดู ช่วยกันร่วมวิเคราะห์นำเสนอความคิดเห็น
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาเหตุต่างๆ
ที่ส่งผลทำให้คนในยุคปัจจุบันแตกต่างจากในอดีต
- เพื่อนๆ
ได้รับฟังความคิดเห็นของเพื่อนอีกคนขณะที่กำลังมีคนอธิบาย
-
ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มเท่าๆ กัน เพื่อให้ช่วยกันวิเคราะห์สาเหตุต่างๆ
ที่ส่งผลให้คนในอดีตร่างกายแข็งแรง
และคนในยุคปัจจุบันมีร่างกายที่เต็มไปด้วยไขมัน(โรคอ้วน) (place mat)
- เพื่อนๆ ที่รับฟังกลุ่มอื่นๆ
ร่วมตั้งคำถาม เพิ่มเติมสิ่งที่ตนเองยังขาดอยู่ เขียนสรุปประเด็นลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- ร่วมตั้งคำถามเพื่อให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม
ได้อธิบายเพิ่มเติมจากสิ่งนำเสนอมา(ทำไม, อย่างไร)
- นักเรียนเขียนสรุปปัจจัยทีส่งผลเกี่ยวกับโรคอ้วน
ลงไว้ในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- เขียนweb เชื่อมความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดโรคอ้วน
- ครูและนักเรียนร่วมพูดคุยถึงมีวิธีทดลองเกี่ยวกับเรื่องไขมัน(น้ำมัน)
อย่างไร
-
นักเรียนสืบค้นข้อมูลมานำเสนอต่อครูและเพื่อนๆ เกี่ยวกับการหยดน้ำมัน
ลงแผ่นกระดาษสีขาว
- ครูนำกระดาษสีขาวบาง และนำมันพืช
มาพานักเรียนทดลอง(อย่างง่าย) เกี่ยวกับความโปร่งแสง
-
ครูพานักเรียนทดลองหยดน้ำมันพืช 2-3 หยด ลงบนกระดาษ
แล้วเกลี่ยหยดน้ำมันให้กระจาย
- ยกกระดาษขึ้นมาให้แสงผ่าน
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “จากการทดลองหยดน้ำมันลงในแผ่นกระดาษ นักเรียนสังเกตเห็นการเปลี่ยนอย่างไร?”
- นักเรียนร่วมสังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผลการทดลองดังกล่าว
-
ครูช่วยกระตุ้นคำถามให้นักเรียนช่วยอธิบาย
และถกข้อสงสัยเกี่ยวกับที่สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงของแผนกระดาษ
* จากการสังเกตภาวะโปร่งแสง
เนื่องจากโมเลกุลของไขมันจะเข้าไปแทนที่โมเลกุลของอากาศเมื่อนำน้ำมันไปทาบนกระดาษ
และไขมัน มีดัชนีหักเหของแสงน้อยกว่าอากาศ จึงทำให้เกิดภาวะโปร่งแสงขึ้น
-
นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับสารอาหารที่เรียนผ่านมา
-
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาเหตุต่างๆ ที่ส่งผลทำให้คนในยุคปัจจุบันแตกต่างจากในอดีต
-
ครูและนักเรียนร่วมพูดคุยถึงมีวิธีทดลองเกี่ยวกับเรื่องไขมัน(น้ำมัน) อย่างไร
-
นักเรียนสืบค้นข้อมูลมานำเสนอต่อครูและเพื่อนๆ เกี่ยวกับการหยดน้ำมัน
ลงแผ่นกระดาษสีขาว
- นักเรียนร่วมสังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผลการทดลอง
- นักเรียนเขียนออกแบบ ไทม์ไลน์ 1 เดือน
ในการวบคุมปริมาณอาหารประเภทไขขันและการรับประทานอาหาร
ชิ้นงาน
-
เขียนวิเคราะห์เกี่ยวกับสาเหตุหรือปัจจัยที่มีผลต่อคนในยุคอดีตกับอนาคต
-
ออกแบบตารางการควบคุมปริมาณอาหารไขมันและการออกกำลังกายใน 1 เดือน
- ทำflow
chartเกี่ยวกับการควบคุมปริมาณอาหารไขมันและการออกกำลังกายใน 1
เดือน
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการตรวจสอบไขมัน
และการวิเคราะห์อาหารประเภทไขมัน ที่มีความเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายได้ รวมทั้งเข้าใจระบบการทำงานของหัวใจ
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การมีส่วนร่วมในการหาข้อมูล ปรึกษาแลกเปลี่ยนความรู้ชิ่งกันและกัน
การช่วยเหลือผู้อื่น
- การวางแผนในการทำงานกลุ่มเกี่ยวกับสาเหตุและปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดโรคอ้วน
ทักษะICT
สืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุและปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดโรคอ้วน
ทักษะการสื่อสาร
นำเสนอชิ้นงานเกี่ยวกับร่างกายของคนเราในอดีตกับอนาคต
ทักษะการเรียนรู้
-สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงความเข้าใจด้านการควบคุมการบริโภคอาหารไขมันและการออกกำลังกาย
-สามารถวิเคราะห์ความแตกต่างของสาเหตุที่ส่งผลทำให้เกิดโรคอ้วนตามมา
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอวิธีการลดปริมาณอาหารประเภทไขมันและการออกกำลังกาย
1 เดือน
เพื่อลดน้ำหนัก
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าวสินเหล็ก 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
และการรับประทานอาหาร
|
10
|
โจทย์
การตรวจสอบไขมัน
และการลดน้ำหนักในระยะเวลา 1
เดือน
Key Questions
นักเรียนจะมีวิธีการควบคุมอาหารประเภทไขมัน
และแบ่งเวลาออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนักของตัวเอง ในระยะเวลา 1 เดือน ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างกายของคนเราในอดีตกับอนาคต
-
นำเสนอเกี่ยวกับขั้นตอนการควบปริมาณอาหารประเภทไขมันละการออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนักในเวลา
1 เดือน
Place mat
-
เขียนถึงสาเหตุหรือปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดโรคอ้วนขึ้นอย่างไร / สาเหตุใดบ้าง
Round Rubin
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการสรุปการทดลอง
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
- คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
-
ภาพไทม์ไลน์ของคนจากอดีตมาสู่อนาคต โรคอ้วน
- กระดาษสีขาวบาง
- น้ำมันพืช
- อุปกรณ์ทดลอง
|
- ครูนำภาพ
“กินอย่างไร ไม่ให้อ้วน”
มาให้นักเรียนช่วยกันดู
และวิเคราะห์เกี่ยวกับการรับประทาน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนจะมีวิธีการควบคุมอาหารประเภทไขมัน
และแบ่งเวลาออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนักของตัวเอง ในระยะเวลา 1 เดือน
ได้อย่างไร?”
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
จากสิ่งที่ได้ดู ร่วมกันวิเคราะห์ถึงอาหารเกี่ยวกับการรับประทานและการออกกำลังกาย
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับชิ้นงานในแต่ละกลุ่มได้พูดคุยวิเคราะห์ร่วมกันมา
-
ครูและนักเรียนชั่งน้ำหนักของตนเอง
เพื่อช่วยกันควบคุมปริมาณอาหารและออกกำลังกายสม่ำเสมอใน 1 เดือน
(แต่ละคนจะมีวิธีอย่างไร)
-
นักเรียนเขียนออกแบบไทม์ไลน์ 1 เดือน ในการควบคุมปริมาณอาหารประเภทไขขันและการรับประทานอาหาร
- นักเรียนอภิปรายวิธีการที่ตนเองจะดำเนินการลดน้ำหนักในระยะเวลา
1 เดือน
-
นักเรียนเขียนสรุปสิ่งที่ได้ดำเนินการลดน้ำหนักเป็น Fort chart
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าโรคอ้วน มีผลกระทบต่อระบบการทำงานของร่างกายเราอย่างไร?”
- นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดขึ้น(โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน,
โรคหัวใจ, โรคเบาหวาน, โรคข้อเสื่อม, โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯ)
- ครูให้แบบบันทึกอาการผู้ป่วย
แล้วให้นักเรียนวินิจฉัยว่าเป็นโรคอะไร
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะอาการและร่วมกันวินิจฉัยว่าน่าจะเป็นโรคอะไร
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าระบบการทำงานของหัวใจเราเป็นอย่างไรบ้าง?”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
และแบ่งกลุ่มศึกษาระบบการทำงานของหัวใจและบันทึกผลลงในสมุดเล่มเล็ก
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องที่ศึกษาค้นคว้า
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าหัวใจคนกับหัวใจหมู เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร?”
- แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาและผ่าตัดหัวใจหมู
เพื่อศึกษาระบบการทำงานของหัวใจคน
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปเรื่องระบบการทำงานของหัวใจในรูปแบบ Flow chart
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
-
นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับสารอาหารที่เรียนผ่านมา
-
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาเหตุต่างๆ
ที่ส่งผลทำให้คนในยุคปัจจุบันแตกต่างจากในอดีต
-
ครูและนักเรียนร่วมพูดคุยถึงมีวิธีทดลองเกี่ยวกับเรื่องไขมัน(น้ำมัน) อย่างไร
- นักเรียนสืบค้นข้อมูลมานำเสนอต่อครูและเพื่อนๆ
เกี่ยวกับการหยดน้ำมัน ลงแผ่นกระดาษสีขาว
- นักเรียนร่วมสังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผลการทดลอง
-
นักเรียนเขียนออกแบบ ไทม์ไลน์ 1 เดือน ในการวบคุมปริมาณอาหารประเภทไขขันและการรับประทานอาหาร
ชิ้นงาน
- เขียนวิเคราะห์เกี่ยวกับสาเหตุหรือปัจจัยที่มีผลต่อคนในยุคอดีตกับอนาคต
-
ออกแบบตารางการควบคุมปริมาณอาหารไขมันและการออกกำลังกายใน 1 เดือน
- ทำflow
chartเกี่ยวกับการควบคุมปริมาณอาหารไขมันและการออกกำลังกายใน 1
เดือน
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการตรวจสอบไขมัน
และการวิเคราะห์อาหารประเภทไขมัน ที่มีความเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายได้ รวมทั้งเข้าใจระบบการทำงานของหัวใจ
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การมีส่วนร่วมในการหาข้อมูล ปรึกษาแลกเปลี่ยนความรู้ชิ่งกันและกัน
การช่วยเหลือผู้อื่น
- การวางแผนในการทำงานกลุ่มเกี่ยวกับสาเหตุและปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดโรคอ้วน
ทักษะICT
สืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุและปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดโรคอ้วน
ทักษะการสื่อสาร
นำเสนอชิ้นงานเกี่ยวกับร่างกายของคนเราในอดีตกับอนาคต
ทักษะการเรียนรู้
-สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงความเข้าใจด้านการควบคุมการบริโภคอาหารไขมันและการออกกำลังกาย
-สามารถวิเคราะห์ความแตกต่างของสาเหตุที่ส่งผลทำให้เกิดโรคอ้วนตามมา
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอวิธีการลดปริมาณอาหารประเภทไขมันและการออกกำลังกาย
1 เดือน
เพื่อลดน้ำหนัก
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าวสินเหล็ก 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
และการรับประทานอาหาร
|
ตารางวิเคราะห์หัวเรื่องโครงงานกับมาตรฐานการเรียนรู้ (ตัวชี้วัด) แต่ละกลุ่มสาระ
.....................................................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
ระบบการทำงานของส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์
อาทิเช่น ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
ระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิต
ระบบประสาท
ระบบย่อยอาหาร
ระบบขับถ่ายของเสีย
|
มาตรฐาน ว 1.1
-
สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการทำงานและอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายได้ (ว1.1
ม.1/7)
- สามารถอธิบายผลที่เกิดขึ้นกับระบบการทำงานส่วนต่างๆของระบบทางเดินหายใจและระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบประสาท ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่ายของเสียได้
(ว1.1 ม.1/5)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
-
สามารถบรรยายความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์โดยใช้พื้นฐานของการสังเกตองค์ประกอบต่างๆของธรรมชาติได้
(ศ 1.1 ม.1/1)
-
สามารถระบุและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆที่อยู่ภายในเซลล์ต่างๆได้
( ศ 1.1ม.1/2)
-
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ
โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ 1.1 ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
|
มาตรฐาน พ 1.1
-
สามารถอธิบายความสำคัญของต่างๆของร่างกาย เช่น
ระบบประสาท ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบทางเดินหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบย่อยอาหาร
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
ซึ่งมีผลต่อกาเจริญเติบโตของร่างกาย ได้ (พ 1.1 ม.1/1)
- สามารถอธิบายระบบการทำงานที่เป็นขั้นตอนของระบบต่างในร่างกายได้
(พ 1.1 ม.1/2)
- สามารถวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายตนเอง
ให้เจริญเติบโตสมวัยและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานได้ (พ 1.1 ม.1/3, 4)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
สามารถวิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานตามกระบวนการทำงานของระบบต่างๆของร่างกายได้
(ง 1.1 ม.1/1)
- ได้ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
(ง 1.1 ม.1/2)
- สามารถนำทักษะการค้นคว้าข้อมูลความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับ
สิ่งที่ได้ที่อ่านหรือสิ่งที่ได้ฟังจากสื่อต่างๆมาพัฒนาการทำงานของตนเองได้ (ง 1.1 ม.2/1)
- สามารถอธิบายขั้นตอนการทำงานของระบบต่างของร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ง 1.1 ม.3/1)
|
มาตรฐาน ส 2.1
-
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น
(ส 2.1 ม.1/1)
-
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้
(ส 2.1 ม.1/2)
-
นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ
นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม
(ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ
แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(ส 2.1 ม.1/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม
สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(ส 2.1 ม.1/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(ส 2.1 ม.1/3)
|
.........................................................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
- สามารถวิเคราะห์
และวิจารณ์ เนื้อหาที่ได้ศึกษา เช่น จากการดู VDO การรับฟังจากที่ครูผู้สอน ร่วมถึง
ชิ้นงานของตนเองและผู้อื่นได้ (ศ
1.1 ม.3/8)
มาตรฐาน ศ 1.2
-
สามารถระบุและบรรยายเกี่ยวกับรูปแบบและลักษณะรูปแบบการทำงานของระบบร่างกายส่วนต่างๆได้
(ศ 1.2 ม.1/1)
- สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของความต้องการ
ของสิ่งมีชีวิตต่างๆได้ (ศ 1.2ม.1/3)
มาตรฐาน ศ 3.2
-
สามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตได้
(ศ 3.2 ม.1/1)
|
- สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้
(พ 1.1 ม.2/1)
-
สามารถระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการด้านร่างกายและจิตใจ
อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้ (พ 1.1ม.2/2)
- สามารถเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ
อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แต่ละช่วงของชีวิตได้ (พ 1.1 ม.3/1)
-
สามารถวางแผนดูและสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโต
และพัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้
(พ 1.1 ม.4-6/2)
-
สามารถอธิบายวิธีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์
และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสมได้
(พ 2.1ม.1/1)
|
มาตรฐาน ง 2.1
- สามารถอธิบายถึงเทคโนโลยีต่างที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตและร่างกายของมนุษย์ได้
(ง 2.1 ม.2/1)
- มีความคิดสร้างสรรค์ในด้านการใช้สมองในส่วนต่างๆในการทำงาน
และสามารถบอกการทำงานของสมองส่วนต่างๆได้
(ง 2.1 ม.2/3)
มาตรฐาน ง 3.1
- สามารถอธิบายผลกระทบที่เกิดขึ้นกับร่างกายได้
เมื่อมีสิ่งเร้าเข้ามากระตุ้น
(ง 3.1 ม.1/2)
- สามารถอธิบายหลักการนำเทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาและดูแลสิ่งมีชีวิตมาปรับใช้ได้
(ง 3.1 ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 3.1
-
นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้ (ส 3.1 ม.1/2)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย(ส 2.1 ม.1/3)
|
........................................................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
||||
- ความต้องการอาหารประเภทเนื้อสัตว์
-
วางแผนในการรับประทานอาหารอย่างเป็นสัดส่วนและเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
-
กระบวนการตรวจสอบสารต่างๆที่อยู่ในอาหารและชีวิตประจำวัน
โดยมีแหล่งที่มาจากพืชและสัตว์
|
มาตรฐาน ว 8.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์และตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู
ได้ฟัง ได้อย่างครอบคลุมและมีเหตุผล
(ว8.1 ม.2/1 )
- นักเรียนสามารถบันทึกผลและอธิบายสิ่งต่างๆจากการสังเกตและค้นพบได้
(ว8.1 ม.2/8 )
- สามารถรวบรวมข้อมูลและความรู้ที่ได้จากการทดลองได้ (ว 8.1 ม.1/4)
- สามารถวิเคราะห์และประเมินผลการทดลองที่ได้ภายหลังจากที่ทดลองเรียบร้อยแล้วอย่างสมเหตุสมผล
โดยผลที่ได้ก็เป็นไปตามทฤษฏีที่ตั้งไว้
(ว 8.1 ม.1/5)
มาตรฐาน ว 3.2
-
ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของการละลายของสาร (ว3.2
ม.1/3)
มาตรฐาน ว 3.1
- สามารถอธิบายสมบัติ
และการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารโดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร (ว3.1ม.1/2)
- สามารถทดลองและจำแนกประเภทของสารแต่ละชนิดได้ (ว3.1ม.1/1)
- สามารถทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
(ว3.1ม.1/3)
|
มาตรฐาน ศ1.1
-
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ
โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
|
มาตรฐาน พ 3.2
-
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้
เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน
ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1
ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
|
มาตรฐาน ส 2.1
-
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น
(ส 2.1 ม.1/1)
-
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้
(ส 2.1 ม.1/2)
-
นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ
นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม
(ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ
แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
มาตรฐาน ส 3.1
-
นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้ (ส 3.1 ม.1/2)
|
มาตรฐาน ส 2.1
และต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย
เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(ส 2.1 ม.1/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(ส 2.1 ม.1/5)
มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(ส 2.2 ม.1/2)
|
|||
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
||||
-
หมวดหมู่ของสัตว์ประเภทต่างๆ
- ประชากรสัตว์เลี้ยงที่เป็นสัตว์สังคมที่อยู่ในชุมชน
- กระบวนการผลิตอาหารสัตว์ และเป็นอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพ
|
มาตรฐาน ว 2.1
สำรวจระบบนิเวศต่างๆ
ในท้องถิ่นและอธิบายความ
สัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ (ว2.1ม.3/1)
|
มาตรฐาน ศ1.1
-
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ
โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อ
|
มาตรฐาน พ 3.2
-
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้
เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน
ตามหลักการทำโครงงานอย่างมี
|
มาตรฐาน ส 2.1
-
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น
(ส 2.1 ม.1/1)
-
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้
(ส 2.1 ม.1/2)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(ส 2.1 ม.1/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม
สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(ส 2.1 ม.1/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(ส 2.1 ม.1/3)
|
..............................................................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
กฎหมายควบคุมผู้บริโภครวมถึงสิทธิต่างๆที่ทั้งมนุษย์และสัตว์พึ่งจะต้องได้รับการดูแลคุ้มครอง
|
ถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
|
จิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
|
-
นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ
นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม
(ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ
แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย
เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(ส 2.1 ม.1/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(ส 2.1 ม.1/5)
|
||
การขยายพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบต่างๆพร้อมทั้งเข้าใจความเกี่ยวข้องระหว่างพืชกับสิ่งมีชีวิตอื่นในด้านการดำรงชีวิต
|
มาตรฐาน ว
1.1
-
ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืช (ว1.1ม.1/6)
- อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (ว1.1ม.1/7) -
ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำของพืช(ว1.1ม.1/8)
|
มาตรฐาน ศ1.1
-
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ
โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
|
มาตรฐาน พ 3.2
-
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้
เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน
ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1
ม.3/ 4)
|
มาตรฐาน ส 2.1
-
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น
(ส 2.1 ม.1/1)
-
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้
(ส 2.1 ม.1/2)
-
นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ
นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันใน
|
มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(ส 2.2 ม.1/2)
|
.....................................................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
- สังเกตและอธิบายโครงสร้าง
ที่เกี่ยวกับระบบลำเลียง
น้ำและอาหารของพืช
(ว1.1ม.1/9)
-
ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช (ว1.1ม.1/10)
- อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์
(ว1.1ม.1/11)
|
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
|
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
|
การทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ
แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย
เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(ส 2.1 ม.1/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(ส 2.1 ม.1/5)
มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(ส 2.2 ม.1/2)
|
....................................................